กำลังแสดงผล 1 ถึง 8 จากทั้งหมด 8

หัวข้อ: หลักสูตรการขับรถเชิงป้องอุบัติเหตุ

  1. #1

    หลักสูตรการขับรถเชิงป้องอุบัติเหตุ

    กระทู้นี่เป็นการที่จะสอนบอกเล่าเทตนิคชั้นสุงไม่เหมาะกับคนที่เคลียดอยู่อ่านอาจไม่เข้าใจในเนื้อหา
    บทที่ 1 ความพร้อมของร่างกายพื้นฐานสำคัญของนักขันรถเชิงป้องกันอุบั้ตเหตุ


    บทที่ 2 บัญญัติ 5 ประการ ความปลอดภัยที่ต้องคำนึงถึงก่อนออกรถ

    บทที่ 3 เบรกเท้าความสำคัญคือชีวิต

    บทที่ 4 พวงมาลัย เครื่องบังคับทิศทางรถที่ต้องการทักษะ

    บทที่ 5 ความเร็ว-ความปลอดภัย ทฤษฎีที่สวนทางกัน

    บทที่ 6 การสังเกตการณ์ คาดการณ์ และการแก้ใขสถานการณ์

    บทที่ 7 การถอยหลัง และการจอดรถ

    บทที่ 8 การทิ้งช่วงห่างจากรถคันหน้า และการแฃงรถ

    บทที่ 9 การขับรถในเขตชุมชน หน้าฝน และขับรถกลางคืน

    บทที่ 10 โต้ง วงเลี้ยว รถลื่นไถล และรถหมุน


    (10ข้อนี่ก็จะมีรายละเอีอดเป็นข้อๆไปนะครับ เดี้ยวไงมาจะมาบรรยายจาก1 ถึง10 ต่อไป)
    [FLASH]http://www.google.co.th/embed/125581106/e323ee9c[/FLASH]เด่นชัย-บัวผัน

    Bump: บทที่ 1 ความพร้อมของร่างกายพื้นฐานสำคัญของนักขันรถเชิงป้องกันอุบั้ตเหตุ

    องค์ประกอบพื้นฐานที่เป็นตัวนำอุบัติเหตุทางรยนต์มาสู้ผู้คน คือ การขาดทักษะและวินัยการจราจร และอีกประการหนึ่งคือ
    การขาดจิตสำนักด้านความปลอดภัย อุบัติเหตุทางรถยนต์ส่วนใหญ่ สิ่งที่ที่ป้องกันได้ ทางผู้ขับขี่มีความพร้อมทางร่างกาย
    ช่างสังเกต และวางแผนล่วงหน้า ฝึกฝนทางทักษะและอุปนิสัยในการขับรถ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ความพร้อมทางร่างกาย
    จิตใจและสมาธิ มีความสำคัญต่อการขับรถไห้ปลอยภัยเกินครึ่งหนึ่ง หากแบ่งส่วนหนึ่งเป็นด้านฝีมือและประสบการณ์
    อีกส่วนหนึ่งส่วนหนึ่งคือความพร้อมทางร่างกาย จิตใจ และสมาธิ

    @ตัวอย่างการเตรียมความพร้อมก่อนการขับขี่รถยนต์
    @ความพร้อมในการขับรถ ของผู้ขับรถ

    @การตรวจประจำวัน ก่อนการใช้งาน

    การตรวจสอบและการดูรักษารถยนต์

    -BREK ระบบเบรก

    *ELCCTRICAL ระบบไฟฟ้า

    *WATER ระบบน้ำในในรถยนต์


    *AIR ลมยาง กรองกากาศ แอร์

    *GASOLINE น้ำมันเชื้อเพลิง

    *OIL ระบบหล่อลื่น

    *NOISE เสียงที่ผิดปกติ


    (ครับเอาแค่นี่ก่อนนะครับเดี้ยวมาต่อเรื่องBREAKอันแรกกัน ยาวครับกะทู้นี่)
    [FM]http://www.google.co.th/embed/94455373/a5bf93d[/FM]
    ฟังไปก่อนครับมาต่อครับ

    Bump: @BREAK@
    การตรวจสอบเบรก
    การตรวจสอบน้ำมันเบรก น้ำมันคลัคช์


    ให้อยู่ในที่ในระดับสูงสุด ( MAX)

    ตรวจสอบการรั่วของน้ำมันเบนก-คลัตช์

    ใช้น้ำชนิดและค่ามาตฐานเดียวกัน

    การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเบรก-คลัตช์

    ทุกๆ2ปีหรือ 40,000 กม.

    Bump: (Electircal)
    การตรวจระบบไฟฟ้า
    ความเรียบร้อบของสายไฟ

    การทำงานของไฟส่องสว่างต่างๆ

    การทำงานของแตร

    การทำงานที่ปัดน้ำฝนและที่ฉีดกระจก

    Water

    การตรวจสอบน้ำในรถยนต์
    ตรวจเช็คระดับน้ำหม้อน้ำน้ำในถังพักน้ำ และ

    หารอยรั่วของระบบ

    กานตรวจสอบหม้อน้ำและปลั๊กถ่ายน้ำ

    ตรวจเช็คระน้ำฉีดกระจก และหารอยรั่วของกระจก

    Bump: (Air)
    ตรวจสอบอากาศ

    การตรวจไส้กรองอากาศ

    ความสะอาดของไส้กรองอากาศ

    การตรวจสอบลมยาง

    แรงดันลมยาง

    อยู่ในระพอดีกับคู่มือประรถ

    การสลับยางทุกๆ 10,000 กิโลเมตร

    การเปลี่ยนยางที่ระยะทาง 40,000 - 50,000 กม.

    หรือ 3 ปี

    (Air)

    ตรวจสอบอากาศ (Air)

    รอยฉีกปริแตก บวม ของดอกยางหรือแก้มยาง

    การสึกหรอของยางโดยสังเกตเครื่องหมายแสดง

    การสึกหรอของยาง

    ตรวจสอบอายุยาง

    23 หมายถึง สัปดาห์ที่ผลิต

    06 หมายถึง ปีที่ผลิต
    Gasoline)
    การตรวจสองน้ำมันเชื้อเพลิง

    น้ำมันเชื้อเพลิง

    น้ำมันเบนซิน

    รถยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซิน 91 ใช้น้ำมัน

    เบนซิน 95 เติมแทนได้รถยนต์ที่ใช้น้ำมันเบนซิน

    95 ไม่สามารถใช้น้ำมันเบนซิน 91 เติมแทนได้

    น้ำมันแก๊สโซฮอล์

    การตรวจสองน้ำมันเชื้อเพลิง (Gasoline)

    การตรวจสอบน้ำมันเชื้อเพลิง

    ตรวจเช็คระดับน้ำมันเชื้อเพลิง

    ตรวจหารอยรั่วของระบบ

    การเติมน้ำมันเชื่อเพลิง

    สัญลักษณ์ลูกศรรูปปั้มน้ำมัน

    ไม่ควนเติมน้ำมันเพิ่มอีกเมื่อหัวจ่ายน้ำมัน

    เชื้อเพลิงตัดการจ่ายน้ำมันเองโดยอัตโนมัติ
    [FLASH]http://www.google.co.th/embed/119491775/8ef5c2d1[/FLASH]
    เดี่ยวมาอีกครับไม่รู้กะทู้ผมมันยาวไปหรือไหม แนะติชมมาได้คับ
    Oil)

    การตรวจเช็คระบบหล่อลื่น
    การตรวจน้ำมันเกียร์

    ตรวจเช็คระดับน้ำมันเกียร์

    และหารอยรั่วของระบบ

    ตรวจเช็คทุกๆ 10,000 กิโลหรือ 1ปี

    การตรวจเช็คระบบหล่อลื่น (Oil)

    การตรวจน้ำมันเกียร์

    ตรวจเช็คระดับน้ำมันเกียร์
    และหารอยรั่วของระบบ

    ตรวจเช็คทุกๆ 5,000 กม.
    เปลี่ยนถ่ายที่ 20,000 เมตร หรือ 1 ปี


    การตรวจเช็คระบบหล่อลื่น (Oil)
    การตรวตน้ำมันพวงมาลัยเพาเวอร์

    ตรวจเช็คระดับน้ำมันพวงมาลัยเพาเวอร์

    และหารอยรั่วของระบบ

    การเปลี่ยนถ่ายทุกๆ 40,000 กิโลเมตร หรือ 1ปี

    (Noise)
    ตรวจสอบเสียง

    การตรวจเสียงเครื่องยนต์

    ตรวจสอบเสียนงที่ผิดปกติหลังจากที่ติดเครื่องยนต์

    ตรวจดูเข็มวัดรอบเมื่อเครื่องยนต์ร้อนแล้ว
    นี่แค่บนที่1นะครับ(บทความนี่ขอสงวนลิกสิทร์ตามกฎหมาย)มีคำแนะนำหรือข้อได้ติดคต่อผู้เขีนยกะทู้)

    หลักสูตรการขับรถเชิงป้องอุบัติเหตุ

    Bump:

    ลิขสิทธิ์บน YouTube Credit By : https://www.youtube.com/watch?v=noeoMS88AeY
    บทที่ 2 บัญญัติ 5 ประการ ความปลอดภัยที่ต้องคำนึงถึงก่อนออกรถ
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย บ่าวเค หนองคาย; 13-07-2010 at 11:01.

  2. #2
    ศิลปิน นักแสดง สัญลักษณ์ของ kitty
    วันที่สมัคร
    Mar 2010
    ที่อยู่
    ลำลูกกา คลอง 2
    กระทู้
    1,135
    ขอบคุณสำหรับข้อมูล ดี ๆ ค่ะ....................

  3. #3
    @สิ่งที่นักขับรถพึ่งระวัง@
    1. ปัญหาด้านสุขภาพ
    การขับรถต้องใช้ส่วนต่างๆของร่างกายหากพบว่ามีปัญหาระยะสั้น เช่น
    อาการเจ็บป่วยไข้ที่ผลของยาที่รับประทานส่งผลให้ง่วงหรือมีผล
    ต่อสมาธิและการตัดสินใจควรหลีกเลี่ยงการขับรถ


    2.ความเหน็ดเหนื่อยอ่อนเพลีย
    ความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจะลดความคล่องตัวการวิเคราะห์และการ
    ตัดสินใจอาจผิดพลาดได้ซึงทางวิชาการกำหนดว่าไม่ควรขับขับรถเกินกว่า
    4ชั่วโมงและผู้ที่มีอายุสูงกว่า45ปีขึ้นไปยิ่งต้องระวังให้มากขึ้นการขับ
    รถเดินทางไกลควรวางแผนการหยุดรถเป็นช่วงๆครั้งละไม่น้อยกว่า
    20นาทีในระหว่างพักควรดื่มน้ำเย็นและบริหารร่างกายเบาๆ

    3.เครื่องดองของมึนเมาและยา
    การดื่มของมึนเมาต่างๆ แม้คุณจะคิดว่าดื่มไม่มากก็ตามมันอาจทำให้คุณ
    ออกอาการคึกคะนองเบลอหรือซึมซึ่งจะมีผลต่อการสังเกตการณ์ การ
    วิเคราะห์ การกะระยะและการเหยียบเบรกที่ช้าลง และอาจไปจบลง
    อุบัติเหตุเป็นได้

    4.ทุกข์หลัก/ทุกข์เบา
    จะมีผลต่อสมาธิในการขับรถและถ่ายทอดมากระทบต่อสมาธิ ดังนั้น
    ก่อนขับรถควรปลดเปลื้องเสียก่อนเป็นดีที่สุด

    5.รับประทานอาหารอิ่มมากเกินพอดี
    นักขับรถมืออาชีพจะรับประทานอาแค่อิ่มแต่จะทานบ่อยเมื่อหิว
    การทานอิ่มเกินไปจะทำให้ง่วง

    6.อารมณ์/ศัตรูภายในที่ทำลายสมาธิ
    ไม่ควรฝืนขับรถต่อไปหากกรณีต่อไปนี้เกิดขึ้นกับคุณ
    -ขณะในใจมีความวิตกหรือหมกมุ่นอยู่กับเรื่องใดเพราะ
    ใจคุณมันไม่ได้อยู่ที่รถสมาธิก็อยู่ในสภาพขนาดเล็กๆเกินๆ
    -โกรธหรือขุ่นเคือง อย่าเอาความโกรธที่พกพาจากบ้านมาระบายกับ
    ผู้ใช้รถใช้ถนนคนอื่นๆเพราะมันจะทำให้เกิดอุบัติเหตุ


    ตัวอย่าง สิ่งที่ทำลายสมาธิของคนขับรถ

    1.ผู้โดยสารประเภทต่างๆ

    2.ยุงหรือแมลงในรถ

    3.วิทยุและเครื่องเสียง

    4.โทรศัพท์มือถือ

    5.เครื่องประดับและสิ่งตกแต่งในรถ

    6.ทัศนะวิสัยชวนมอง


    Bump:

    Bump: [FLASH]http://www.google.co.th/embed/124100730/90ca01de[/FLASH]

    Bump: บทที่ 3 เบรกเท้าความสำคัญคือชีวิต

    Bump: บทที่ 3 เบรกเท้าความสำคัญคือชีวิต

    วันนี่ หลายคนยังเข้าใจว่าระยะเบรกกับระยะหยุดรถเป็นระยะเดี่ยวกันหรือเหมือนกัน
    และจากความเข้าใจแบบนี่ ทำไห้เบรกไม่ทันและเกิดอุบั้ตเหตุ ระยะเบรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่เห็นสิ่ง
    ต่างๆ ที่เกิดขึ่นในทางหรือข้างทาง แตะจะเก็บเอา ข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์และคาดการณ์ว่าอะไร
    กำลังจะเกินขึ่น แล้วจะจัดการอย่างไร
    @ความหมาย@
    ระยะ คือช่วงที่คิดและตัดสินใจเพื่อแก้ใข
    สถานการณ์จนถึงยกเท้ามาเหยียบเบรก
    ระยะ คือ เมือเท้าเบรกเหยียบเบรกและเบรกทำงานจนกระทั้งรถหยุด
    @ดังนั้น ระยะหยุดรถจึงเท่ากับ ระยะคิด+ ระยะเบรก@
    สาเหตุที่เป็นอุปสรรคต่อระยะคิด
    1 สมาธิ ผู้ที่มีความพร้อมด้านสมาธิมากกว่าย่อมคิดและตัดสินใจได้ดีและเร็วกว่า
    ผู้ที่ขาดมสมาธิ หรือ เจ็บป่วย เหน๊ดเนื่อยอ่อนเพลีย และอารมณืขุ่นมัว
    หากไม่สามารถขจัดปัญหาเหล่านี่ออกไปได้ ควรหลีกเลี่ยงการขับรถ
    2 ความเร็ว ความเร็วเป็นอุปสรรคต่อระยะคิด ถ้าเรามีเวลาที่เท่ากันแต่ความเร็วต่างกัน
    ระยะคิดก็ต่างกันด้วย คือ ผู้ที่ขับขี่ด้วยความเร็วสูงกว่าก็เสียระยะทางไปมากกว่า เช่น
    -ขับด้วยความเร็ว 100 กม./ช.ม. ใข้เวลาคิด 0.75 วินาที เขาเสียระยะทางไป 20เมตร
    -ขับด้วยความเร็ว 60 กม./ข.ม. ใช้เวลาคิด 0.75 วินาที เขาเสียระยะทางไป12 เมตร
    จะเห็นว่าระยะทางแตกต่างกัน 8 เมตร
    ทั้ง ระยะคิด และระยะเบรก ต่างก็มีปัจจัยหลากหลายเป็นองค์ประกอบแล้งปัจจัยเหล่านัน
    ล้วนแต่ทำไห้ระยะทางในช่วงคิดหรือระยะทางในช่วงเบรกยึดหดได้ทั้งสองกรณี กล่าวโดยสรุป
    ได้ว่าการเปลียนแปลงของระยะคิดหรือระยะเบรกนันมีผลต่อระยะหยุดรถโดยตรงนันเอง


    Bump ผมขอใช้ขนานตัวหนังสือใหญ่อีกนิกนะคับเพื่ออ่านกันง่ายขึ่น)

    Bump: @เบรกเท้าความสำคัญคือชืวิต@
    สาเหตุที่เป็นอุปสรรคต่อระยะเบรก
    1.ตัวรถหรือประเภทของรถ ระยะเบรกของรถบรรทุก ไม่เท่ากับรถเก๋งหรือรถนั้งขนาดเล็ก
    ทั่วไป หรือแม้รถนั้งด้วยกันเองก็มีระยะเบรกไม่เท่ากัน
    2 สภาพรถ
    3 ถนน
    4 ความสามารถของผู้ขับขี่
    ผู้ที่เบรกรถโดยการเหยียบคลัตฃ์ พร้อมกับเหยียบ จะได้ระยะเบรกยาวกว่าผู้เบรกรถแบบถูกต้อง
    ตามสากล
    5 การบรรทุก รถคันที่บรรทุกหนักกว่าจะมีระยะเบรกยาวกว่ารถคันที่มีน้ำหนักเบาเนื่องจาก
    การกระจายน้ำหนักที่ดีจะช่วยไห้การเบรกรถดีขึ่น


    บทที่ 4 พวงมาลัย เครื่องบังคับทิศทางรถที่ต้องการทักษะ

    (เดี้ยวมาต่อกัน บทต่อไปคับ)

    Bump: บทที่ 4 พวงมาลัย เครื่องบังคับทิศทางรถที่ต้องการทักษะ

    Bump: พวงมาลัย คือเครื่องบังคับไห้รถวิ่งไปตามทิศทางที่ต้องการ และเมื่อถึงคราวจำเป็นที่จะต้อง

    แก้ใขสถานการณ์ ไห้เกิดความปลอดภัย ก็พวงมาสัยอีกนั้นละ ที่คุณต้องใช้ อุบัติเหตุที่เกิดขึ่น

    มากมายเพราะผู้ขับขี่ไม่สามารถใช้พวงมาลัยแก้ใข้ สถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการ

    การจับพวงมาลัย ที่เราพบเห็นทั้วไป มีหลายรูปแบบสุดแต่ ครู ผู้สอนจะแนะนำไห้ ฃึ่ง ครู แต่ละท่าน
    ก็มีเหตุผลแล

    ะแนวความคิดที่แตกต่างกันไป และแต่ละคนก็อิงสถาบับ ตน เอง ไม่ได้ใช้ กลับสากลเป็น
    เกณท์


    Bump: การจับพวงมาลัย
    การจับพวงมาลัยในระบบของการขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุมี 3 แบบไห้เลือก คือ

    Bump: @การจับพวงมาลัย@
    การจับพวงมาสัยในระบบของการขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุมี 2 แบบไห้เลือกคือ


    1 จับตามตำแหน่งนาฬิกาที่ประมาณ สิบโมงเข้า-บ่ายสองโมงเย็น

    2 จับตามตำแหน่งนาฬิกาที่ เก้าโมงเช้า-บ่ายสามโมงเย็น

    3 จับตามตำแหน่งนาฬินที่ 10 โมงเช้า-บ่ายสองโมงเย็น

    การจับพวงมาลัยตามตำแหน่งดังกล่าวมาแล้วทั้ง 3วิธี เป็นตำแหน่งที่เหมาะสม

    และดีที่สุด ทั้งในการพักแขน น้าหนักถ่วงของแขนละที่สำคัญสุดคืนเป็นตำแหน่งที่

    หมุนพวงมาลัยได้คล่องตัวที่สุดในทุกสถานการณ์ แต่ไม่ใช้จะจับโดยวิธิไดใน3 วิธิ

    ยังมีกลักเกณท์อืนประกอบเพิ่มเติมคือ



    1สองมือต้องจับพวงมาลัยตลอดเวลา การจับพวงมาลัยใว้ด้วยสองมือตลอดเวลาและ

    ทันที่มีเหตุการณ์ฉุกเฮินเกิดขี่นได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น เมื่อรถอาการลื่นไถลยาง

    ระเบิด ต้องเบรกกะทันหัน

    2 หัวแม่มืออยู่นอกขอบพวงมาลัย ผู้ขับขี่ส่วมมากจะถนัดในการกำพวงมาลัยโดยมีหัว

    แม่มืออยู่ด้านในหรือด้านล่างของของพวงมาลัย แล้วเวลารถวื่งเร็วๆ หากรถปืนฟุดบาธ

    หรือตกหลุมขณะขับเพลินๆ พวงมาลัยมันก็จะเกิดอาการสะบัดแรงๆฃึ่งอาจทำไห้เกิด

    การบาดเจ็บได้

    3 จับสบายๆเป็นธรรมฃาติแต่พร้อมที่จะจับแน่น ๆ นักขับรถที่จับพวงมาลัยแน่นๆย่อมที่จะ

    ยากที่จะขับรถไห้นุ่มนวลได้ เนื่องจากขาดความยึดหยุ่น รถจะเปลียนทืศทางไปแบบกระด้าง

    ไม่ นุ่มนาล ยิ่งถ้าไปเจอผิวจราจรลื่นๆก็จะรู้ถึ่งอาการแบบนี่ได้อย่างชัดเจน การเจ็บแบบ
    สบายๆ

    แต่พร้อมที่จะจับแน่น เมื่อมีเหตุการณ์ฉุนเฉิน สัญชาตญาณจะทำไห้เราจับแน่นเองเมือตกใจ

    หรือเหตุการณ์เกิดขี่น


    Bump: ต่อไปการหมุนพวงมาลัย
    (เดี้ยวมายาวต่อนะครับหาไรกินไห้สมองมันแล่นๆๆก่อนนี่พึ่งบทที่4เองครับ)
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย บ่าวเค หนองคาย; 14-07-2010 at 08:17.

  4. #4

    ลิขสิทธิ์บน YouTube Credit By : https://www.youtube.com/watch?v=v6vGxMLN9W0
    ในชืวิตไม่อยากไห้เกินแบบนี่เลย
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย บ่าวเค หนองคาย; 15-07-2010 at 03:10.

  5. #5

    เดี้ยวว่างๆมาต่อบทที่เหลือไห้นะครับช่วงนี่งานเยอะ

    [FM]http://www.google.co.th/embed/151325223/4e388729[/FM]
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย บ่าวเค หนองคาย; 16-07-2010 at 07:41.

  6. #6
    ฝ่ายเทคนิคและโปรแกรม สัญลักษณ์ของ ต่วง
    วันที่สมัคร
    Feb 2008
    กระทู้
    1,826
    อาการอ่อนเพลียหลับในนี่ผมเคยเป็นอยู่ครับโชคดีบ่เกิดอุบัติเหตุ
    การที่จะประสบความสำเร็จได้ ต้องขึ้นอยู่กับความพยาม ความตั้งใจ สู้ฝ่าฟันอุปสรรคทุกอย่าง

  7. #7
    Membership renewed สัญลักษณ์ของ siranee
    วันที่สมัคร
    Jul 2008
    ที่อยู่
    ลาดกระบัง54(วัดศรีวารีน้อย)
    กระทู้
    909
    หน่อยเกือยตายย้อนคนขับรถแล้วใช้โทรศัพท์นี่ล่ะจ้า
    อันตรายแท้ๆ หน่อยย่างข้ามถนนตอนที่ข้ามกะเป็นสัญญาณ
    ไฟเขียวสำหรับคนย่างข้ามแต่ยายอันนั่นเพิ่นกะยุ่งยากแต่นำ
    โทรศัพท์บ่เบิ่งคนย่างข้ามถนนกว่าสิแนมเห็นหน่อยกว่าสิเบรค
    ได้หน่อยกับรถห่างกันบ่ถึงสองคืบ เกือบตายอยู่ต่างบ้านซะแล้ว

  8. #8
    การหมุรพวงมาลัย
    เทคนิคของการหมุนพวงมาลัยสำหรับการขับรถเชิงป้องกันอุบัติเหตุ
    ในสถานการณ์
    ปกติกำหนดไว้ 2 วิธี คือแบบกึง-ดัน (pull-push steering) และแบบ
    คร่อมแขน ( hand - over-hand )

    1)การหมุนพวงมาลัยแบบดึงดัน (pull-push steering) 1) คุณต้อ

    งจับพวงมาลัยตามตำแหน่งที่แนะนำคือ สิบโมงเช้าบ่ายสอง โมงเย็น

    หรือ ตำแหน่งเก้าโมงเช้า-บ่ายสามโมงเย็น หรือตำแหน่งที่คาบเกี่ยว
    กับระหว่าง 2 วิธี
    ที่กล่าวมาก็ได้ให้หัวแม่มืออยู่นอกวงพวงมาลัยตามกติกาและไม่ต้อง
    แน่นจนเกินพอดี

    2) คุณต้องตั้งข้อกำหนดขึ้นมาว่ามือทั้งสองข้างคือซ้ายและขวาต้องไม้

    ข่ามจุดเที่ยววันและหกโมงเย็นตามตำแหน่งนาฬิกา

    3) ในการหมุนพวงมาลัยมือสองข้างที่สลับกันระหว่างการดึงและการดัน

    คือจะไม่ดึงและดันพร้อมๆ กัน ทั้งสองมือ

    เมื่อจะเลี้ยวขวา ให้เลื่อนมือขวา รูดผ่านวงพวงมาลัยขึ้นมาหาตำแหน่ง

    เที่ยววัน คะเนว่าสักประมาณตำแหน่งบ่าย

    โมงหรือเที่ยวครึ่ง ที่ทำแบบนี้ก็เพื่อให้ได้วงเลี้ยวกว้าวขึ้นจากนั้นมือ

    ขวาก็ดึงพวงมาลัยมาสู่ตำแหน่งหกโมงเย็น
    (ห้ามเกิน) ในขณะที่มือขวาดึงพวงมาลัยลงอยู่นั้น ให้รูดมือซ้ายผ่าน

    วงพวงมาลัยขนานคู่กับมือขวาลงมาตำแหน่งหกโมงเย็น และพบกับ

    มือขวาที่จุดนัดหมาย ณ ที่เดิมถ้าวงเลี้ยวไม่พอตามที่ต้องการ ให้ใช้มือ

    ซ้ายกันพวงมาลัยจากตำแหน่งหกโมงเย็นขึ้นไปหาตำแหน่งเที่ยงวัน

    และมือขวาก็รูดขนานไปยังมือซ้ายไปสู่ตำแหน่งเที่ยงวันเช่นเดียวกัน

    4) ให้รูดพวงมาลัยผ่านมือเท่านั้น ห้ามยกจับ ทั้งนี้เพื่อนให้แน่ใจว่า

    เมื่อใดก็ตามที่เหตุกาณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น คุณจะสามารถจับพวงมาลัย

    ได้อย่างมั่นคงได้ในทันที

    2)การหมุนพวงมาลับแบบแบบคร่อมแขน (hand-over-hand) การหมุนพวง

    มาลัยแบบคร่อมแขนนี้ ผู้คนทั่วไปมักจะนิยมใช้กันเพราะสะดวกดี แถมยังได้

    วงกว้างอีกด้วย สำหรับในการขับรถในเชิงป้องกันอุบัติเหตุ มีข้อกำหนดให้ใช้

    มนขอบเขตที่ค่อนข้างจำกัดและเหมาะเฉพาะบางกรณี เช่น ในการเลี้ยวที่หมุนกว้าง

    120 องศา ยูเทริ์น หรือ

    กับมุมหักซึ่งบริเวณวงเลี้ยวค่อนข้างจำกัด เช่น กรณีขับเข้าออกรถจากที่จอดด้วยความเร็วต่ำ

    การสังเกตการณ์
    การสังเกตการณ์ (observation) หมายถึงการใช้ตามอง (มากกว่า 80%) เพื่อเก็บและรับ

    รู้ข้อมูลที่เกิดขึ้นหรือเปลี่ยนอปลงไปในถนน การสังเกตการณ์ถือเป็นรากฐานที่สำคัญขอ

    งการขับรถที่ต้องการความปลอดภัย เพราะหากไม่เห็นก็ไม่ทราบว่าอะไรกำลังจะเกิดขึ้น

    ลองคิดเล่นๆ ดูว่า ถ้าคุณใจลอยในขณะขับรถเพราะมัวแต่คิดโน่นคิดนี่แล้วจู่ๆ ก็มีรถออก

    จากซอยตัดหน้ารถคุณ หรือ มีคนเดินบนถนนอะไรจะเกิดขึ้น

    แนวทางในการฝึกปฎิบัติเพื่อไปสู่นักขับรถที่มีการสังเกตร์

    1) เทคนิคการมองแบบกวาดสายตา (scanningtechnique) ข้อเสียของการจับตา

    อยู่ที่จุดใดจุดหนึ่งนานๆ นอนจาการจะเสียโอกาสในกาที่จะสำรวจตรวจสอบสิ่งต่างๆ

    ที่จะก่อให้เกิดอันตรายรอบๆ ตัวแล้วยังทำให้ผู้ขับขี่เกิดภวังค์ได้อย่างง่ายดายอีกด้วย

    คุณจะต้องมองกวาดสายตาไปทั่วๆ เริ่มจากจุดที่ไกล้ที่สุด ระยะกลาง และระยะใกล้

    รวมทั้งต้องดูกระจกเพื่อตรวจสภาพจราจรด้านหลัง ด้านข้าง วนเวียนสลับกันไปดดย

    สม่ำเสมอและถ้าเป็นไปได้ควรทำทุกๆ 10 นาที หากทำได้คุณก็จะเห็นสภาวะการ

    เคลื่อไหวของการจราจรรอบตัวทุกๆ 10วินาที ทั้งนี้สถานการณ์มนถนนเปลี่ยนแปล

    ไปตลอดเวลาเช่น ขับรถในชุมชนสถานการณ์จะเปลี่ยนไปเร็วมาก การมองกวาด

    สายตายจะต้องเปลี่ยนเป็น ืทุกๆ 2-3 วินาที

    2) ความเร็วมีผลต่อการสังเกตการณ์ ในขณะที่รถจอดอยู่นิ่งๆ รัศมีสายตาแต่ละข้าง

    ของเราจะกว้างมากไม่ต่ำกว่า
    75 - 80 องศา ถ้ารวมสองข้างเข้าด้วยกันแล้วจะมีมุมกว้าง 150 - 180 องศา ซึ่งหมาย

    ความว่าถ้ามีรถมาเทียบข้างในรัศมีองศาที่ว่านี้แล้วแราจะเห็นทันที แต่ถ้ารถมี

    ความเร็ว 50 กม./ซม. มุมกว้าวของสายตายจะลดลงรวม

    แล้วไม่เกิน 90 องศา หากเพิ่มความเร็วเป็น 100 กม./ชม. ความกว้างของลานสาย

    สองข้างรวมกันอล้วมีเพียง

    40 องศา เท่านั้นเอง


    Bump:

    ลิขสิทธิ์บน YouTube Credit By : https://www.youtube.com/watch?v=ApG3Za6RrQA
    อุบัต้เหตุเกิดขึ่นทุกเวลาทุกสถาณการณ์

Tags for this Thread

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •