กำลังแสดงผล 1 ถึง 7 จากทั้งหมด 7

หัวข้อ: มาเด้อมากิน "ลาบหมาน้อย" นำกัน

  1. #1
    บ่าวเมฆินทร์
    Guest

    ดูวีดีโอ YouTube ออนไลน์ มาเด้อมากิน "ลาบหมาน้อย" นำกัน

    หมาน้อย...ครับ
    เลือกเอาเด้อ...โตได๋เป็นตาฮักโตนั่นหละแซบ.... น่านคิดฮอดโตอยุ่ใต้ตะล่างหละเด้นิมาเด้อมากิน "ลาบหมาน้อย" นำกัน
    หมาน้อยอีหลีแล้วเป็นพืชชนิดหนึ่งครับ เป็นไม้เครือหรือไม้เถา ขึ้นอยู่นำป่า ใบคือกันกับใบตำลึงหรือผักบักขัก แต่ว่าใบสิมีขน เวลาเอามาเฮ็ดกะเอาใบมาย่องให้ละเอียดแล้วคั่นเอาน้ำคือจั่งยานางนั่นหละ จากหั่นพอแต่ได้น้ำแล้วกะเอาป่นปลามาใส่ ตะไคร้ซอย แล้วกะปรุงรสด้วยซูรส น้ำปลา ปลาแดกแล้วแต่ใจมัก เรียบร้อยกะตักใส่ถ้วยมาใส่พาเข่านั่งซดกินกับเขาเหนียวแซบขนาด ข้อควรระวังครับ อย่าปล่อยไว้โดนครับมันสิเต้นหนีจากถ้วยก่อน

    ::)::)

  2. #2
    ดูแลตรวจสอบเนื้อหา สัญลักษณ์ของ บ่าวพรรณานิคม
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    1,622
    เฮ็ดมาหลายๆเด้อบ่าวเมฆินทร์ สิถ่ากินนำดอก อากาศหนาวจังซี่มันเป็นวุ่นไวเนาะ
    [*] สื่อบันเทิงที่นำมาให้รับชม รับฟังเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น หากท่านชื่นชอบ สื่อใด โปรดซื้อสินค้าลิขสิทธิ์
    [*] เกี่ยวกับลิขสิทธิ์
    [*] ทำเนียบกองทุนเว็บไซต์ บ้านมหา

  3. #3
    บ่าวเมฆินทร์
    Guest
    ลืมบอกอีกอย่างครับ สรรพคุณทางยากะคือ เป็นยาเย็นแก้ฮ้อนในได้พร้อม:g

  4. #4
    Membership renewed สัญลักษณ์ของ Sweet_M
    วันที่สมัคร
    Oct 2007
    ที่อยู่
    USA
    กระทู้
    1,097
    คือสิหากินบ่ได้ง่ายๆดอกเด้อ ลาบหมาน้อยนี้ กินยามได๋แซบยามนั้นยังว่ะ....:g:g

  5. #5
    ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านมหา สัญลักษณ์ของ ฅนภูไท
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    2,115
    บล็อก
    1
    เครือหมาน้อย



    วงศ์ MENISPERMACEAE
    Cissampelos pareira Linn. var. hirsutus
    (Buch. ex. DC) Ferman

    ชื่อสามัญ กรุงเขมา (นครศรีธรรมราช) วุ้นหม้อน้อย; ขงเขมา; พระพาย (กลาง); หมาน้อย; เครือหมาน้อย (อีสาน); ก้นปิด (ใต้); เปล้าเลือด (แม่ฮ่องสอน); สีฟัน (เพชรบุรี); อะกามินเยาะ (นราธิวาส)

    ลักษณะทางพฤกษศาสตร์และเกษตร
    เป็นไม้เถาเลื้อยพัน ใบเดี่ยว (simple) รูปร่างใบเป็นรูปหัวใจ (cordate) โคนใบแบบก้นปิด (peltate) ใบกว้าง 5.6 – 6.6 เซนติเมตร ยาว 6.9 – 7.6 เซนติเมตร หน้าใบและหลังใบมีขนสีน้ำตาลยาวประมาณ 1 มิลิเมตร ปกคลุมหนาแน่น หลังใบมีขนปกคลุมหนาแน่นมากกว่าหน้าใบ ก้านใบมีขน ยาว 1.7 – 2.5 เซนติเมตร ดอกตัวผู้และตัวเมียเซนติเมตร ขอบใบเรียบ (entire) ใบเป็นมัน หน้าใบหลังใบไม่มีขน ยอดอ่อนสีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 0.4 – 0.6 เซนติเมตร ออกดอกที่ยอดหรือปลายกิ่ง ช่อดอกมี 4 – 5 ดอก ยาว 6.0 – 6.5 เซ็นติเมตร ดอกย่อยแยกจากกัน มีขนาดเล็กสีเขียว เมล้ดโค้ง (เหมือนพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว) ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดหรือหน่อ



    แหล่งที่พบและเก็บรวบรวมพันธุ์
    พบขึ้นทั่วไปในที่รกร้างว่างเปล่า ในสวนป่า เช่น อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร (PC 537) อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี (SN 364) ที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 80 - 130 เมตร

    การใช้ประโยชน์
    เป็นอาหารสัตว์ โค กระบือ ชาวบ้านใช้ใบมาตำ ขยำกับน้ำ นำมาปรุงอาหาร ถ้าทิ้งไว้จะแข็งตัวเหมือนวุ้น สมุนไพร ราก มีรสหอมเย็น แก้ไข้ ดีซ่าน เป็นยาอายุวัฒนะ บำรุงอวัยวะเพศให้แข็งแรง แก้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ใบ ใช้ทาแก้โรคผิวหนัง มีสารอัลคาลอยด์ เช่น Hayatinine; Hayatine; Beburine; Sepurine; Cissampeline; Pelosine Quercitol และ Sterol

  6. #6
    บ่าวเมฆินทร์
    Guest
    ขอบคุณหลายเป็นอยางหองครับอ้ายภูสำหรับภาพกับข้อมูลดี
    บ่าวคิดว่าผู้ลางคนเผิ่นคือสิคิดฮอดโตน้อย ๆ แล่นอยู่ใต้ตะลางเฮือนไปก่อนแล้วหละ

    ::)

  7. #7
    บ่าวเมฆินทร์
    Guest
    มื่อนี่ฮู้สึกว่าสิหิวเข่า.....ผู้ได๋มีเมนูเด็ด เกี่ยวกับ "หาน้อย"แหน่น้ออออ

Tags for this Thread

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •