หน้าที่ 1 จากทั้งหมด 2 หน้า 12 หน้าสุดท้ายหน้าสุดท้าย
กำลังแสดงผล 1 ถึง 10 จากทั้งหมด 11

หัวข้อ: ขั้นตอนการจับผึ้งโพรงมาเลี้ยง

  1. #1
    ท่องเวบ สัญลักษณ์ของ pui.lab
    วันที่สมัคร
    Jul 2006
    ที่อยู่
    โสดไม่มีใครเอา หรือว่าเราไม่เอาใคร
    กระทู้
    8,954
    บล็อก
    9

    ขั้นตอนการจับผึ้งโพรงมาเลี้ยง

    ขั้นตอนการจับผึ้งโพรงมาเลี้ยง

    การจับผึ้งมาเลี้ยงก่อนที่จะจับผึ้งต้องสำรวจดูว่ามีผึ้งอยู่ที่ใดบ้างและ
    จับได้ง่าย ไม่ควรอยู่สูงจนเกินไป การจับผึ้งมีขึ้นตอนดังต่อไปนี้
    1.เตรียมอุปกรณ์จับผึ้งได้แก่ หีบจับผึ้ง (10 12 10 ลูกบาศก์นิ้ว) ซึ่งมีถุงตาข่ายปลายเปิดติดอยู่
    ด้านล่าง หมวกตาข่ายกันผึ้งต่อย กาบ มะพร้าว ไม้ขีดไฟ สิ่ว ค้อนและตะปู
    2.เมื่อพบรังผึ้งซึ้งอยู่ในโพรง สำรวจรูทางเข้าออกของผึ้ง ถ้ามี 2 ทางให้ปิดเหลือเพียงรูเดียว จากนั้นเจาะรูทางเข้าออกให้กว้างพอสำหรับมือที่จะล้วงเข้าไปอย่างสะดวก ข้อควรระวังในขณะที่เจาะขยายทางเข้าออก ควรสมหมวกตาข่ายและอุดรูทางเข้าออกไวด้วย เพราแรงสั่นสะเอนขณะที่เจาะจะทำให้ผึ้งทหารที่เฝ้าหน้ารังเข้าโจมตีคนจับผึ้งได้
    3.ค่อยๆเปิดรูทางเข้าออกที่เจาะไว้ จุดไฟที่กาบมะพร้าวให้มีแต่ควันไฟ เพื่อไล่ผึ้งให้ขึ้นไปอยู่เหนือโพรงให้หมด จากนั้นดึงรวงผึ้งออกมาพร้อมกับใช้ควันไล่ผึ้ง ถ้ามีผึ้งติดรวงรังออกมาควรตรวจดูให้ดีอย่าให้นางพญาหลุดหนีออกไปในขณะที่ดึงรวงผึ้งออกมา
    เป็นอันขาด ถ้านางพญาหนีหายไป การจับผึ้งรังนั้นเป็นอันไร้ผลเพราะการจับผึ้งไปโดยไม่มีนางพญาจะไม่สามารถเลี้ยงสำเร็จได้เลย ถ้าพบนางพญาให้จับใส่ในกล่องขังนางพญาทันที
    4.เมื่อดึงรวงผึ้งออกหมดแล้ว ใช้มือหรือไม้สอดเข้าไปในโพรงเพื่อวัดความสูงของโพรงและ
    เจาะรูเล็กๆ ประมาณ 2 2 ตารางนิ้ว ให้พอดีกับความสูงของโพรง จากนั้นเอาหับจับผึ้งแขวนไว้เหนือรู โดยให้ถึงตาข่ายซึ่งติดอยู่ใต้หีบ คลึมปิดปากรูอย่างมิดชิด
    5.ใช้ควันรุมที่ปากรูใหญ่ทางด้านล่างอีกครั้ง ฝูงผึ้งจะหนีควันออกทางรูบนเข้าสู่หีบจับผึ้ง ตรวจดูในโพรงอีกครั้งว่าไม่มีผึ้งหลงเหลืออยู่แล้ว จึงผูกปากถุงให้แน่นโดยที่ประชากรผึ้งทั้งรังอยู่
    ในหีบ
    6.นำหีบจับผึ้งกลับไปเพื่อย้ายเข้าสู่หีบเลี้ยงมาตรฐาน โดยนำรวงผึ้งที่ดึงออกมาจากรังเดิมมาจัดให้พอดีกับขนาดคอน พยายามเลือกรวงผึ้งที่มีหลอดรวงตัวอ่อนของผึ้งระยะดักแด้มากๆ เมื่อวัดและตัดรวงผึ้งได้ขนาด
    แล้ว นำคอนมาทาบให้เส้นลวดทับรวงผึ้ง จากนั้นใช้มีดคมๆ กรีดตามรอยเส้นลวดให้ลึกประมาณครึ่งหนึ่งของความหนาของรวงผึ้งตามรอยเส้นลวดทั้งสามเส้น
    ใช้มือ กดเส้นลวดให้ฝังลึกลงไปในรวงผึ้ง ใช้เชือกเส้นเล็กๆ ผูกรวงผึ้งให้ติดกับคอน แล้วแก้เชือกออกในวันที่สาม นำกล่องขังนางพญามาผูกติดกับคอนในกรณที่นางพญาอยู่ในหีบจับผึ้งอยู่แล้ว ให้ผ่านขั้นตอนนี้
    ไปได้เลย
    7.นำหีบจับผึ้งไปใส่ในหีบเลี้ยง เปิดปากถุงให้ผึ้งออกไปหานางพญาและท่อหุ้มรวงรังปิดฝาหับเลี้ยงทิ้งไว้สัก 1 คืน และเปิดปากรังตอนเช้าให้ผึ้งบินออกกาอาหารตามปกติ

    อนึ่ง การจับผึ้งควรจับในตอนเย็นๆ เพราะมีประชากรผึ้งเกือบทั้งหมด เมื่อนำผึ้งไปใส่ในหีบเลี้ยงเป็นเวลามืดพอดี ตอนเช้าผึ้งก็จะออกทำหาหารตามปกติ แต่ะสถานที่เลี้ยงผึ้งควรห่างจากที่จับผึ้งอย่างน้อย 3 – 5 กินโลเมตร มิฉะนั้น ผึ้งจะบินกลับไป
    รังเดิมได้

    ขอบคุณที่มา
    โค้ด PHP:
    http://www.sema.go.th/ 
    บ้านมหาดอทคอม เว็บไซต์ส่งเสริม ศิลปะ วัฒนธรรมไทย ศิลปิน ความรู้ออนไลน์
    st1: มิตรภาพและรอยยิ้ม กับดีเจคนไกลบ้าน st1:

  2. #2
    ศิลปิน,ช่างภาพอิสระ สัญลักษณ์ของ เพ็นนี
    วันที่สมัคร
    May 2009
    ที่อยู่
    Bangkok
    กระทู้
    1,308
    บล็อก
    2
    พี่ปุ้ยข๋า แล้วเราจะรู้ได้ยังไงค่ะ ว่าตัวไหนเป็นผึ้งนางพญา ตัวไหนเป็นผึ้งทหารยศอะไร
    ดูไปแล้วก็เหมือนๆกันหมดอ่ะค่ะ..

  3. #3
    ท่องเวบ สัญลักษณ์ของ pui.lab
    วันที่สมัคร
    Jul 2006
    ที่อยู่
    โสดไม่มีใครเอา หรือว่าเราไม่เอาใคร
    กระทู้
    8,954
    บล็อก
    9
    โอ๊ยน้อน้องเพ็นกะด๋ายยยย
    เอื้อยก็บ่อู้จักดอกจ้า ถ้าแมลงวันบอกได้อยู่


    ภาพแสดง ผึ้งนางพญา, ผึ้งงาน และผึ้งตัวผู้


    อวัยวะสืบพันธุ์ของผึ้งตัวผู้ (Drone sign) ติดอยู่ที่ปลายท้อง
    หรือ Vagina ของผึ้งนางพญา


    ผึ้งตัวผู้ (Drone)
    บ้านมหาดอทคอม เว็บไซต์ส่งเสริม ศิลปะ วัฒนธรรมไทย ศิลปิน ความรู้ออนไลน์
    st1: มิตรภาพและรอยยิ้ม กับดีเจคนไกลบ้าน st1:

  4. #4
    ศิลปิน,ช่างภาพอิสระ สัญลักษณ์ของ เพ็นนี
    วันที่สมัคร
    May 2009
    ที่อยู่
    Bangkok
    กระทู้
    1,308
    บล็อก
    2
    ธุจ้า ขอบคุณพี่ปุ้ยหลายๆจ้า ที่ไปหารูปประกอบมาให้เบิ่ง

    เพ็นนีสิได้ฮู้ว่าผึ้งทหารยศอีหยังที่มันต่อยเพ็นนีกกหุข้างซ้าย
    จนได้วินมองเห็นดาวพุธ
    ผึ้งงานนี่คงสิเป็นผึ้งทหารเนาะ

  5. #5
    ฝ่ายบริหารระดับสูง สัญลักษณ์ของ พล พระยาแล
    วันที่สมัคร
    Mar 2008
    กระทู้
    6,430
    อยากเลี้ยงน้องผึ้งมากกว่าอ่ะ ตัวผึ้งเค้ากลัวมันต่อยอ่ะ

  6. #6
    ศิลปิน,ช่างภาพอิสระ สัญลักษณ์ของ เพ็นนี
    วันที่สมัคร
    May 2009
    ที่อยู่
    Bangkok
    กระทู้
    1,308
    บล็อก
    2
    กระทู้ต้นฉบับโดยคุณ พล พระยาแล
    อยากเลี้ยงน้องผึ้งมากกว่าอ่ะ ตัวผึ้งเค้ากลัวมันต่อยอ่ะ
    น้องผึ้งของพี่เพ็นนี...ตอนนี้อยู่วัดโสมฯจ้าอ้ายพล

  7. #7
    ที่รัก กลับบ้านครั้งต่อไป เลี้ยงอยู่โคราชให้เบิ่งจัก10ฮังแหน่เด้อจ้า...บ่กล้าเลี้ยงดอกเว้าแล้ว ย่านคักเด้อ ต่อกับแตน
    ส่วนติ๋มสิปลูกไผ่ตรง ไผ่เลี้ยงไว้ให้เจ๊ได้สับ เอาไปแกงจ้า...
    คนที่กล้าจะพ่ายแพ้เท่านั้น...ที่จะประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่

  8. #8
    ฝ่ายกิจการพิเศษ สัญลักษณ์ของ กำพร้าผีน้อย
    วันที่สมัคร
    Apr 2009
    ที่อยู่
    รัตนาธิเบศร์..ใกล้แยกแคราย
    กระทู้
    1,788
    ย่าแต่ถืกตอดนั่นหละ...สิหาปลูกไผ่คือน้องติ๋มว่านั่นหละ.บ่ค่อยถืกกับซุมตอดปวด....

  9. #9
    ร่วมถ่ายทอดความรู้สู่สังคม สัญลักษณ์ของ ลาวดีน้อย
    วันที่สมัคร
    Jul 2009
    ที่อยู่
    อยู่ในใจเสมอ
    กระทู้
    1,175
    บล็อก
    3
    555555555 ย่านโดนตอด พะนะ อ้ายลาวใหญ่(พี่บ่าวยางตลาด)บ่ต้องกลัวจ้า ลาวน้อยสิพาแล่นดอกจ้า อิอิ
    แล่นไวๆเด้อจ้าทางนี้สิบ่บอกจ้าแล่นไปก่อนอย่างเดียว คือแล่นหนีต่อนี้ล่ะ อิอิ

  10. #10
    ท่องเวบ สัญลักษณ์ของ pui.lab
    วันที่สมัคร
    Jul 2006
    ที่อยู่
    โสดไม่มีใครเอา หรือว่าเราไม่เอาใคร
    กระทู้
    8,954
    บล็อก
    9
    ที่รัก กลับบ้านครั้งต่อไป เลี้ยงอยู่โคราชให้เบิ่งจัก10ฮังแหน่เด้อจ้า...บ่กล้าเลี้ยงดอกเว้าแล้ว ย่านคักเด้อ ต่อกับแตน
    ส่วนติ๋มสิปลูกไผ่ตรง ไผ่เลี้ยงไว้ให้เจ๊ได้สับ เอาไปแกงจ้า...

    เอ๋า ที่รัก แกงให้กินแน๊เป็นหยาง เค๊าแกงบ่แซบ ขาดพ่อครัวทำให้กิน ฮิ้วๆๆๆๆ
    บ้านมหาดอทคอม เว็บไซต์ส่งเสริม ศิลปะ วัฒนธรรมไทย ศิลปิน ความรู้ออนไลน์
    st1: มิตรภาพและรอยยิ้ม กับดีเจคนไกลบ้าน st1:

หน้าที่ 1 จากทั้งหมด 2 หน้า 12 หน้าสุดท้ายหน้าสุดท้าย

Tags for this Thread

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •