หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 2 หน้า หน้าแรกหน้าแรก 12
กำลังแสดงผล 11 ถึง 20 จากทั้งหมด 20

หัวข้อ: แบบเรียนภาษาเขมร

  1. #11
    ศึกษาหาความรู้ สัญลักษณ์ของ T-munt
    วันที่สมัคร
    May 2012
    กระทู้
    7
    ขอบคุณครับ เอาวิธีนับเลขมาสอนนำแหน่เด้อครับ...

  2. #12
    เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ สัญลักษณ์ของ เซียงเหมี่ยงเมืองสุรินทร์
    วันที่สมัคร
    Dec 2008
    ที่อยู่
    สุรินทร์, ร้อยเอ็ด, และ สปป.ลาว
    กระทู้
    829
    อ้าย T-munt
    เอานับหนึ่งถึงสิบเด้อครับ...

    ๑-มูย
    ๒-ปีร
    ๓-เบอย
    ๔-บูน
    ๕-ปรัม
    ๖-ปรัมมูย
    ๗-ปรัมปีร
    ๘-ปรัมเบอย
    ๙-ปรัมบูน
    ๑๐-ดอบ

    สิเห็นหว่าจาก ห้าไปหาเก้าเป็นการ นับแบบเอาห้าเป็นที่ตั้ง บวกเพิ่มทีละหนึ่งเนาะครับ
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย เซียงเหมี่ยงเมืองสุรินทร์; 02-07-2013 at 06:57. เหตุผล: เพิ่มตัวเลขไทย...

  3. #13
    ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านมหา สัญลักษณ์ของ sompoi
    วันที่สมัคร
    Mar 2007
    ที่อยู่
    japan
    กระทู้
    5,708
    บล็อก
    23
    ตัวนี้ "ปีร" อ่านออกเสียงว่าจั่งไดจ้าน้องเซียง
    มองต่าง..อย่างปลง

  4. #14
    ร่วมถ่ายทอดความรู้สู่สังคม สัญลักษณ์ของ ทิดแหล่
    วันที่สมัคร
    Jun 2008
    กระทู้
    435
    อนุญาตช่วยตอบเซียงเมี่ยงนะครับ

    คำว่า "ปีร" ลักษณะการออกเสียง จะออกเสียงคำว่า ปี ก่อน แล้วหันลิ้นเป็นตัว ร เรือ ตาม (การหันลิ้น>โดยกระดกลิ้นขึ้นติดเพดานแล้วเป่าลมให้ผ่านปลายลิ้น....) ลองดูครับ ไม่ยาก...

  5. #15
    เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ สัญลักษณ์ของ เซียงเหมี่ยงเมืองสุรินทร์
    วันที่สมัคร
    Dec 2008
    ที่อยู่
    สุรินทร์, ร้อยเอ็ด, และ สปป.ลาว
    กระทู้
    829
    ตามที่อ้ายทิดแหล่ เผิ่นตอบครับเอื้อยมิก ชัดเจนครับเอื้อย...
    ภาษาเว่าของ เขมร เป็นภาษาที่ใช้ลิ้นหัน หลายกว่าภาษาถิ่นอื่น ๆ ที่ใช้กันในเมืองไทยกะว่าได้ครับ ร , ล ต้องชัดเจน คำควบกล้ำต้องเป๊ะ ๆ ลองฟังกันตรึมแล้วสิพอนึกภาพออกครับเอื้อย...
    คันให้เซียงเหมี่ยงฯ อธิบาย ยอมรับว่าอธิบายวิธีออกเสียงเป็นภาษาเขียนบ่ถืกคือกันครับ ฮ่า ๆ ๆ ...

  6. #16
    เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ สัญลักษณ์ของ เซียงเหมี่ยงเมืองสุรินทร์
    วันที่สมัคร
    Dec 2008
    ที่อยู่
    สุรินทร์, ร้อยเอ็ด, และ สปป.ลาว
    กระทู้
    829
    อีกอย่าง ๓ - เบอย บ่สามารถเขียนเป็นภาษาไทยได้ เพราะว่าออกเสียงนอกเหนือจากสระภาษาไทยที่มีครับ บ่แม่น สระเออ ที่จะออกเสียง เบย, เบิย หรือ แม้กระทั่ง เบอย แต่บ่ฮู้สิเขียนว่าจั่งได๋ ต้องได้ฟังครับ จั่งสินึกออกครับ...

  7. #17
    ร่วมถ่ายทอดความรู้สู่สังคม สัญลักษณ์ของ ทิดแหล่
    วันที่สมัคร
    Jun 2008
    กระทู้
    435
    เพิ่มเติมครับ
    การหันลิ้นในภาษาเขมร มีระดับ น้ำหนัก และวิธีการ การหันลิ้นที่แตกต่างกันครับ เช่น
    - คำควบกล้ำ ล ร อันนี้ทุกท่านพอจะเข้าใจอยู่แล้ว เช่น เซราะกราว>บ้านนอก
    - คำที่ ตัว ร เป็นตัวสะกด เช่นคำว่า ปีร ที่ได้ยกตัวอย่างมา
    - คำที่ ตัว ล เป็นตัวสะกด จะออกเสียงคล้ายตัว ร เพียงแต่ไม่ต้องหันลิ้น แค่ให้ปลายลิ้นแตะที่เพดาน เช่นคำว่า เจียล แปลว่า ตะกร้า , ด็อล แปลว่า ถึง เป็นต้น

  8. #18
    ดูแลตรวจสอบเนื้อหา สัญลักษณ์ของ pcalibration
    วันที่สมัคร
    Nov 2008
    ที่อยู่
    เมืองฉะเชิงเทรา(แปดริ้ว)
    กระทู้
    1,883
    บล็อก
    1
    ถามวิทยากรทั้งสองท่านฯพอจะมีวิธีการเรียนการสอน
    หรือเฮ้ดจั่งได๋ครับจั่งสิเรียนรู้และนำภาษาไปใช้ในการพูดคุยสื่อสารกันเข้าใจได้
    เห็นที่ต้องไปเข้าโรงเรียนสอนภาษาขะแมร์ หรือไม่ก็ต้องลงทุนไปมีแฟน
    เป็นสาวขะแมร์สิได้บ่หือ อ้ายทิดแหล่ แอนด์เซียงเหมี่ยงฯ


  9. #19
    Moderators
    วันที่สมัคร
    Feb 2013
    กระทู้
    1,094
    บล็อก
    2
    นอกจากภาษาพูดที่น่าเรียนแล้ว อ้ายทิดแหล่กับน้องเซียงเหมี่ยงฯ
    มีภาษาเขียนมาสอนนำบ่จ้า อยากเห็นโตหนังสือนำจ้า

  10. #20
    เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ สัญลักษณ์ของ เซียงเหมี่ยงเมืองสุรินทร์
    วันที่สมัคร
    Dec 2008
    ที่อยู่
    สุรินทร์, ร้อยเอ็ด, และ สปป.ลาว
    กระทู้
    829
    ตอบ อ้ายพี... อย่างหลังที่ว่ามง่ายกว่าครับอ้าย แต่ว่าต้องทำความเข้าใจกับแม่บ้านดี ๆ เด้อครับ ฮ่า ๆ ๆ ...

    ตอบเอื้อยพวงพะยอม... ไว้โอกาสหน้าเซียงเหมี่ยงฯ สิสแกน แบบเรียน มาให้เบิ่งเด้อครับ เคยเรียนตอนบวชเป็นพระ ช่วงนั้นพออ่านได้ เขียนได้ แต่ตอนนี้ลืมไปหลายแล้ว แต่ อย่างเป็นคาถาพื้น ๆ กะยังจำได้ อย่าง มะ อะ อุ, นะ โม พุท ทา ยะ,นะ ชา ลิ ติ, ก่อนหน้านี้ เคยเขียนพระคาถาชินบัญชร จากภาษาบาลีไทย เป็นภาษาขอมอยู่ครับ แต่ตอนนี้บ่สามารถแล้วครับเอื้อย...

    คิดว่าในบ้านมหา น่าจะมี พี่ ๆ หรือ อาจารย์อีกหลาย ๆ ท่านมีความรู้ ความสามารถ ภาษาเขมร เป็นอีกภาษาที่น่าเรียนรู้ ครับ หลักการสะกด ภาษาไทยคล้าย ๆ ภาษาเขมร อาจจะเนื่องจากก่อนหน้านี้ เฮาได้ัรับอารยะธรรมช่วงที่เขมรเรืองอำนาจ สิ่งที่อาจจะแตกต่างสำหรับการสะกดในภาษาเขียนกะคือ เฮาต้องจำหางของตัวอักษรแต่ละตัวเพื่อเอามาประกอบการสะกด อักษรมีการแยกเป็นตัวเสียงสูงเสียงต่ำ เมื่ออักษรแต่ละตัวเข้ากับสระเดียวกัน อักษรเสียงสูง เสียงต่ำ กะบังคับให้ออกเสียงบ่คือกันครับ...

หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 2 หน้า หน้าแรกหน้าแรก 12

Tags for this Thread

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •