หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 3 หน้า หน้าแรกหน้าแรก 123 หน้าสุดท้ายหน้าสุดท้าย
กำลังแสดงผล 11 ถึง 20 จากทั้งหมด 28

หัวข้อ: ผักกาดหย่า

  1. #11
    บ่าวเต็งคนโก้
    Guest

    Re: ผักกาดหย่า

    Re: ผักกาดหย่า กระทู้ต้นฉบับโดยคุณ ♥♥-สาวธาตุเชิงชุม-♥♥
    บ่มีรูปบ่จ้า อยากเห็นหน้าตา ว่าเป็นแนวใด อาจสิเคยกิน แต่จำซื่อบ่ได้ Re: ผักกาดหย่า
    ตอนนี้บ่มีจ้า เมือบ้านปีหน้าสิหาแจ่มๆๆมาสู่เบิ่งดอก อิอิอิ (ผักหรือผุสาวน้อคือแจ่ม)


  2. #12
    ร่วมถ่ายทอดความรู้สู่สังคม สัญลักษณ์ของ สาวธาตุเชิงชุม
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    647

    Re: ผักกาดหย่า

    ขอบคุณไว้ล่วงหน้าเด้อจ้า :) (คั่นเป็นผัก ถ่าเป็นผุ้สาวงามกว่าข่อยกะบ่ไหว Re: ผักกาดหย่า)

  3. #13
    ดูแลตรวจสอบเนื้อหา สัญลักษณ์ของ บ่าวพรรณานิคม
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    1,622

    Re: ผักกาดหย่า

    เอารูปมาให่เบิง

    Re: ผักกาดหย่า

    Re: ผักกาดหย่า
    [*] สื่อบันเทิงที่นำมาให้รับชม รับฟังเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น หากท่านชื่นชอบ สื่อใด โปรดซื้อสินค้าลิขสิทธิ์
    [*] เกี่ยวกับลิขสิทธิ์
    [*] ทำเนียบกองทุนเว็บไซต์ บ้านมหา

  4. #14
    ร่วมถ่ายทอดความรู้สู่สังคม สัญลักษณ์ของ สาวธาตุเชิงชุม
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    647

    Re: ผักกาดหย่า

    ปาดหนามคือหลายแท้ สิกินได้บ่ละบ่าวพรรณา Re: ผักกาดหย่า Re: ผักกาดหย่า ขอบคุณเด้อสำหรับภาพที่นำมาฝาก 8)

  5. #15
    ดูแลตรวจสอบเนื้อหา สัญลักษณ์ของ บ่าวพรรณานิคม
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    1,622

    Re: ผักกาดหย่า

    Re: ผักกาดหย่า กระทู้ต้นฉบับโดยคุณ ♥♥-สาวธาตุเชิงชุม-♥♥
    ปาดหนามคือหลายแท้ สิกินได้บ่ละบ่าวพรรณา Re: ผักกาดหย่า Re: ผักกาดหย่า ขอบคุณเด้อสำหรับภาพที่นำมาฝาก 8)
    ข่อยไปถ่ายมา บู๋ป่าหนามมันแขนขาลายเหมิดหนามมันเกาะ
    [*] สื่อบันเทิงที่นำมาให้รับชม รับฟังเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น หากท่านชื่นชอบ สื่อใด โปรดซื้อสินค้าลิขสิทธิ์
    [*] เกี่ยวกับลิขสิทธิ์
    [*] ทำเนียบกองทุนเว็บไซต์ บ้านมหา

  6. #16
    ดูแลตรวจสอบเนื้อหา สัญลักษณ์ของ บ่าวพล
    วันที่สมัคร
    Jul 2006
    กระทู้
    1,807

    Re: ผักกาดหย่า

    กินกับแกงหน่อไม้คักขนาดเลยขอบอก.....

  7. #17
    ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านมหา สัญลักษณ์ของ ฅนภูไท
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    2,115
    บล็อก
    1

    Re: ผักกาดหย่า

    ผักกาดหย่าต้องกินกับลาบปลา แล้วกะซุปหน่อไม้ครับ เข้ากันดีอิหลีเด้อ

  8. #18

    Re: ผักกาดหย่า

    +v,kdbodyåÆ6xsojvw,h0yddecsoj
    อ๊ากกกก......เป็นภาษาผีบ้าเฉยเลย เซ็งแป้นพิมพ์อะ
    มีซุปหน่อไม้แล้วพ่อน้องพลอย ขอจักกำแหน่ผักกาดหย่าหั่น บ่เอาหนามนำเด้อ ซังมันปักปาก อิอิ
    คนที่กล้าจะพ่ายแพ้เท่านั้น...ที่จะประสบความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่

  9. #19
    varawut
    Guest

    Re: ผักกาดหย่า

    บ้านข่อยกะหลาย แต่ว่าข่อยบ่มัก เพราะมันส้มจักใดกะบ่ฮู้

  10. #20
    ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านมหา สัญลักษณ์ของ ฅนภูไท
    วันที่สมัคร
    Apr 2007
    กระทู้
    2,115
    บล็อก
    1

    Re: ผักกาดหย่า

    Re: ผักกาดหย่า


    ชื่อ "ผักปู่ย่า" วงศ์ "LEGUMINOSAE"
    ชื่อวิทยาศาสตร์ "Caesalpinia mimosoides Lamk."
    ชื่อพื้นเมือง"ผักปู่ย่า หนามปู่ย่า(เหนือ) ช่าเลือด(กลาง)
    ทะเน้าซอง(เหนือ) ผักกาดย่า(ปราจีนบุรี) ผักขะยา(นครพนม) ผักคายา(เลย) ผักกาดย่า(อุดรธานี-อีสาน)"

    ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

    ผักปู่ย่าเป็นชื่อพื้นเมืองทางเหนือจากการศึกษาพบว่าผักชนิดนี้ชาวเหนือและชาวอีสานรับประทานเป็นผัก ชาวบ้านนิยมรับประทาน และมีจำหน่ายในตลาดสดชาวเหนือมีตำนานเล่าเรื่องสั้นต่อกันมาว่ามีสองเฒ่าสามี
    และภรรยาเดินไปทำนาระหว่างทางทั้งสองได้พักรับประทานหลังจากรับประทานผักนี้เข้าไปรู้สึกว่ามีแรงมีพละ
    กำลังเพื่มขึ้นจึงทำให้เรื่องนี้เล่าลือกันต่อมาทำให้คนรุ่นหลังรู้จักและเก็บผักนี้มารับประทานต่อกันเรื่อยมาและ
    ชาวบ้านจึงเรียกผักนี้เพื่อการระลึกถึงผู้ที่เริ่มรับประทานก่อนว่า"ผักปู่ย่า"ส่วนชาวอีสานเรียกผักนี้ว่า"ผักกาด
    ย่า" ผักปู่ย่าเป็นไม้เถา ลำต้นตั้งตรงหรือเลื้อยพันต้นไม้อื่นสูงมากกว่า 1 เมตร ลำต้นมีหนามแหลมมากมาย
    ทั้งลำต้นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ออกเป็นคู่ข้ามกัน ก้านใบยาว 25-40 ซม. ใบย่อยมี 10-30คู่และแตก
    ออกไปอีก 10-20 คู่ กว้าง 4 มม. ก้านใบสีแดง มีหนามแหลมตามกิ่งก้านทั่วไป ดกเป็นดอกช่อยาว 20-40 ซม. ดอกสีเหลืองดอกบานในช่วงฟดูหนาวดอกยาว1.2-2 ซม. กว้าง1-1.5-8ซม.ลักษณะเป็นแผ่นแบนและ
    ปลายเรียวแหลม ผลเป็นฝักขนาดเท่าหัวแม่มือภายในมีเมล็ด 2 เมล็ด ใบและช่อดอกมีกลิ่นฉุนรุนแรงคล้าย
    กลิ่นแมงกะแท้หรือแมงดา ชาวบ้านว่าผักปู่ย่ามีกลิ่นหอมหอมนวลน่ารับประทาน

    การปลูก
    ผักปู่ย่าพบขึ้นในแหล่างธรรมชาติ บริเวณป่าละเมาะ ป่าเต็งรัง ป่าผสม ผลัดใบและปริเวณชายป่า ทีรกร้าง
    ชอบขึ้นรวมกับต้นไม้อื่น ๆ ขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ด

    ประโยชน์ทางยา
    ไม่มี

    ประโยชน์ทางอาหาร
    ส่วนที่เป็นผัก/ฤดูกาล ยอดอ่อนใบอ่อนและดอกของผักปู่ย่ารับประทานเป็นผักได้ ยอดอ่อนและใบอ่อนผลิออก
    ในช่วงฤดูฝนส่วนดอกพบในฤดูหนาว(เดือนตุลาคม-เดือนกุมภาพันธ์)การปรุงอาหารชาวเหนือรับประทานยอด
    อ่อนใบอ่อนของผักปู่ย่าเป็นผักสดกับน้ำพริกหรือซอยใส่กับลาบส่วนดอกและยอดอ่อนำไปปรุงเป็น"ส้มตำ"ได้ โดยปรุงร่วมกับมะเขือแจ้ยอดมะม่วงและเครื่อปรุงรสหลายชนิด

    รสและประโยชน์ต่อสุขภาพ
    รสของยอดอ่อนและดอกมีรสเปรี้ยวฝาดเผ็ดร่วมกัน

หน้าที่ 2 จากทั้งหมด 3 หน้า หน้าแรกหน้าแรก 123 หน้าสุดท้ายหน้าสุดท้าย

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •