แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)



แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)


แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)


แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)




สาเหตุเกิดจาก การชนกันระหว่างแผ่นเปลือกภาคพื้นมหาสมุทรกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป


ผลที่ได้รับก็คือ


1 เขตแผ่นดินไหวที่ซึ่งมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับตื้นตามแนวขอบแผ่นเปลือกภาคพื้นทวีป และจะมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับลึกมากขึ้นเมื่อห่างจากขอบแผ่นทวีปเข้ามาบนพื้นดิน บางบริเวณร่องลึกมหาสมุทรอาจจะอยู่ใกล้กับขอบชายฝั่งแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป แนวภูเขาไฟบนพื้นแผ่นดินที่อยู่ห่างจากชายฝั่งเพียงเล็กน้อย และการทำลายแผ่นธรณีภาคมหาสมุทร

2 การระเบิดของภูเขาไฟ



ดังจะเห็นว่าประเทศอินโดนีเซียต้องผจญ
คลื่นยักษ์สินามิ จากการเคลื่อนที่ของแนวเปลือกโลกใต้พื้นทวีป
และภูเขาไฟ เมราปี ระเบิดขณะนี้




แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากันคือ

บริเวณที่แผ่นธรณีภาค (lithospheric plates) มีการเคลื่อนที่เข้าหาอีกแผ่นหนึ่ง การเคลื่อนที่เข้าชนกันของแผ่นเปลือกโลกนี้สามารถก่อให้เกิดแผ่นดินไหว (earthquakes) ภูเขาไฟ (volcanic activity) และการเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก (crustal deformation)




แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)



แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)

บริเวณที่มีการมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกลงไปใต้พื้นมหาสมุทร




แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากันระหว่างแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป (Oceanic and Continental Plates) เมื่อแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปเคลื่อนที่เข้าชนกัน แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรที่บางและมีความหนาแน่นสูงกว่าจะมุดตัวลงไปใต้แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปที่หนาและความหนาแน่นน้อยกว่า การที่แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรมุดตัวไปถึงชั้นแมนเทิลเราเรียกกระบวนการนี้ว่า "subduction" ในขณะที่แผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสมุทรมุดตัวลงมันจะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงขึ้น จนกระทั่งที่ความลึกประมาณ 100 ไมล์ (160 กิโลเมตร) วัสดุในแผ่นเปลือกโลกที่มุดตัวจะเข้าใกล้จุดหลอมเหลวและเริ่มมีการหลอมเป็นบางส่วน (patial melting)




แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)

กระเปาะหินหนืด


แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)

Magma chamber processes


(หินหนืดเป็นหินหลอมละลายที่อยู่ภายใต้พื้นผิวของโลก. กระเปาะหินหนืดห้องมักจะอยู่ห่างไกลอยู่ใต้พื้นผิวของโลกที่แผ่นมหาสมุทรจะขับเคลื่อนลงไปในเสื้อคลุมด้วยแผ่นทวีป แผ่นมหาสมุทรละลายเป็น desends ในชั้นบนของเปลือกโลก หรือใต้ท้องทะเลของแผ่นมหาสมุทร และกลายเป็นไอน้ำจากความร้อนที่รุนแรง )



หินหนืดมีความหนาแน่นน้อยและอยู่ภายใต้แรงกดดันมากที่บังคับให้มันขึ้นไปยังพื้นผิว นี้หินหลอมเหลวและก๊าซในห้องเก็บหินหนืดจนกว่าจะสามารถหลบหนีไปยังพื้นผิว


การหลอมเป็นบางส่วนนี้ก่อให้เกิด กระเปาะหินหนืด ( magma-chambers ) เหนือแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นมหาสุมทรที่มีการมุดตัว กระเปาะหินหนืดนี้มีความหนาแน่นน้อยกว่าวัสดุในชั้นแมนเทิลที่อยู่รอบๆ ข้าง ทำให้เกิดการลอยตัวขึ้น การลอยตัวของกระเปาะหินหนืดจะเริ่มลอยขึ้นอย่างช้าๆ ผ่านวัสดุที่ปิดทับอยู่ด้านบน โดยมีการหลอมและการแตกเกิดขึ้นตามเส้นทางที่กระเปาะหินหนืดลอยตัวขึ้นไป ขนาดและความลึกของกระเปาะหินหนืดของกระเปาะหินหนืดเหล่านี้หาได้จากการทำแผนที่การเกิดแผ่นดินไหวในบริเวณรอบๆ ถ้ากระเปาะหินหนืดลอยขึ้นมาถึงพื้นผิวโลกโดยไม่มีการแข็งตัวก็จะเกิดการปะทุออกมาในลักษณะของการระเบิดของภูเขาไฟ ( volcanic eruption )


และ ผลของการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกภาคพื้นมหาสมุทรกับแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป ได้แก่ เขตแผ่นดินไหวที่ซึ่งมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับตื้นตามแนวขอบแผ่นเปลือกภาคพื้นทวีป และจะมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวระดับลึกมากขึ้นเมื่อห่างจากขอบแผ่นทวีปเข้ามาบนพื้นดิน บางบริเวณร่องลึกมหาสมุทรอาจจะอยู่ใกล้กับขอบชายฝั่งแผ่นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป แนวภูเขาไฟบนพื้นแผ่นดินที่อยู่ห่างจากชายฝั่งเพียงเล็กน้อย และการทำลายแผ่นธรณีภาคมหาสมุทร





ภูเขาไฟ " เมราปี (Mount Merapi) " ระเบิดบนเกาะชวา อินโดนีเซีย



แนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน(1)




ภูเขาไฟเมราปี ( Mount Merapi หรือ Gunung Merapi )
เป็นภูเขาไฟในชวากลาง ประเทศอินโดนีเซีย สูง 2,914 ม.



ภูเขาไฟเมราปิเป็นหนึ่งในจำนวนภูเขาไฟ 129 ลูกในอินโดนิเชียที่ยังคุกรุ่นอยู่
การระเบิด


ของมันเมื่อ พ.ศ. 2537 ได้คร่าชีวิตผู้คนไป 70 ราย
ระเบิดใน พ.ศ. 2473 มีผู้เสียชีวิตถึง 1,300 ราย
15 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เมื่อเวลา 5.40 น. ตามเวลาท้องถิ่น



ภูเขาไฟเมราปีกลับมาประทุอีกครั้งเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ก่อให้เกิดเถ้าถ่านและกลุ่มควันสูงขึ้นไปในอากาศ 1.5 กิโลเมตร
ทำให้มีผู้เสียชีวิต 29 คน ทำให้ทางการสั่งอพยพประชาชน
ในพื้นที่ 40,000 คน


ก่อนหน้านี้ เกิดแผ่นดินไหวจากภูเขาไฟกว่า 500 ครั้ง

และการปะทุของลาวาที่เพิ่มความถี่มากขึ้นจากเมื่อการประทุเมื่อพ.ศ. 2549
และในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2553 มีผู้เสียชีวิตกว่า 100 คน


และการปะทุครั้งนี้ทางการอินโดนีเซียสั่งขยายเขตอพยพชาวบ้านออกเป็นภายในรัศมี 20 กิโลเมตรแล้ว แต่อิทธิฤทธิ์เมราปีระเบิดล่าสุด


ยังส่งไอและก๊าซร้อนสูงคร่าชีวิตผู้คน และยังมีบ้านเรือนถูกแผดเผาอีกหลายหลัง


ส่วนสภาพอากาศเมืองย็อคยาการ์ตาเข้าสู่ภาวะทมึน
ผู้ขับขี่ยวดยานพาหนะต้องเปิดไฟหน้าส่องสว่างทาง แม้เป็นช่วงกลางวัน



*******************************







ขอบคุณ

thatcrystalsite.com

waipahums.k12.hi.us

2.bp.blogspot.com

rmutphysics.com




…………………………………………………..